ใครมีปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งเต้านม
• ผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า 40 ขึ้นไป
• ผู้หญิงที่มีประวัติว่าคนในครอบครัวเป็นมะเร็งเต้ามนม รวมทั้งผู้ที่เคยเป็นมะเร็งเต้านมมาก่อน
• ผู้หญิงที่มีลูกเมื่ออายุ 30 ปีขึ้นไป รวมถึงผู้หญิงที่ไม่เคยมีลูก
• ยีนส์เกิดการกลายพันธุ์ และสามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้
• ผู้หญิงสูงอายุที่มีเต้านมเต่งตึงกว่าอายุ
• ผู้หญิงที่มีประจำเดือนก่อนอายุ 12 ปี หรือประจำเดือนหมดช้า หลังอายุ 55 ปี
• ผู้ที่รับประทานทานฮอร์โมนเพศหญิง หรือยาคุมกำเนิดเป็นเวลานาน
• ผู้หญิงที่สูบบุหรี่
อาการมะเร็งเต้านม • ผู้หญิงที่มีประวัติว่าคนในครอบครัวเป็นมะเร็งเต้ามนม รวมทั้งผู้ที่เคยเป็นมะเร็งเต้านมมาก่อน
• ผู้หญิงที่มีลูกเมื่ออายุ 30 ปีขึ้นไป รวมถึงผู้หญิงที่ไม่เคยมีลูก
• ยีนส์เกิดการกลายพันธุ์ และสามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้
• ผู้หญิงสูงอายุที่มีเต้านมเต่งตึงกว่าอายุ
• ผู้หญิงที่มีประจำเดือนก่อนอายุ 12 ปี หรือประจำเดือนหมดช้า หลังอายุ 55 ปี
• ผู้ที่รับประทานทานฮอร์โมนเพศหญิง หรือยาคุมกำเนิดเป็นเวลานาน
• ผู้หญิงที่สูบบุหรี่
ในระยะเริ่มต้น จะไม่มีอาการเจ็บ แต่ถ้าหากว่าเข้าสู่ระยะมะเร็งแล้ว จะเริ่มตั้งแต่
ระยะ 0 คือเป็นระยะแรกของมะเร็ง แต่ยังไม่ลุกลาม
ระยะ 1 มีก้อนมะเร็งขนาดเล็ก ไม่เกิน 2 เซนติเมตร และยังไม่ลุกลามสู่ต่อมน้ำเหลือง
ระยะ 2 ก้อนมะเร็งโตขึ้นเล็กน้อย และอาจลุกลามไปยังบริเวณรักแร้ หรือต่อมน้ำเหลือง แต่ยังไม่แพร่กระจายสู่อวัยวะอื่นๆ
ระยะ 3 ก้อนมะเร็งมีขนาดใหญ่กว่า 5 เซนติเมตร และลุกลามสู่ต่อมน้ำเหลือง
ระยะ 4 คือระยะสุดท้ายที่มะเร็งลุกลามไปยังอวัยวะอื่นๆ แล้ว
ระยะ 1 มีก้อนมะเร็งขนาดเล็ก ไม่เกิน 2 เซนติเมตร และยังไม่ลุกลามสู่ต่อมน้ำเหลือง
ระยะ 2 ก้อนมะเร็งโตขึ้นเล็กน้อย และอาจลุกลามไปยังบริเวณรักแร้ หรือต่อมน้ำเหลือง แต่ยังไม่แพร่กระจายสู่อวัยวะอื่นๆ
ระยะ 3 ก้อนมะเร็งมีขนาดใหญ่กว่า 5 เซนติเมตร และลุกลามสู่ต่อมน้ำเหลือง
ระยะ 4 คือระยะสุดท้ายที่มะเร็งลุกลามไปยังอวัยวะอื่นๆ แล้ว
ตรวจเต้านมตนเองง่ายๆ ได้ทุกเดือน
เพื่อช่วยให้เราสามารถป้องกันและรักษาได้ทันท่วงที โดยการตรวจเต้านมด้วยตัวเอง เพื่อบ่งบอกวามผิดปกติที่เกิดขึ้น โดยเริ่มตรวจตั้งแต่อายุ 20 ปีขึ้นไป และทำต่อเนื่องหลังจากหมดประจำเดือนประมาณ 3-10 วัน เพราะเป็นช่วงที่เต้านมไม่คัดตึง ช่วยให้ตรวจได้ง่ายขึ้น และสำหรับผู้หญิงวัยหมดประจำเดือนหรือมีการตัดมดลูก ควรตตรวจด้วยตัวเองทุกวันที่หนึ่งของเดือน หากสังเกตเห็นอาการผิดปกติเหล่านี้ ควรปรึกษาแพทย์ทันที
• คลำพบก้อนที่เต้านม ซึ่งอาจกลายเป็นมะเร็งเต้านม
• ขนาดและรูปร่างของเต้านมมีการเปลี่ยนแปลง
• ผิวหนังเกิดรอยบุ๋ม ย่น หดตัว หรือหนาผิดปกติ และอาจมีสะเก็ด
• หัวนมหดตัว มีอาการคัน หรือแดงผิดปกติ
• เลือดออกจากหัวนม ซึ่งเป็นอาการที่อาจเป็นมะเร็งเต้านม
• เจ็บบริเวณเต้านม รักแร้บวม เพราะต่อมน้ำเหลืองโตขึ้น
• ขนาดและรูปร่างของเต้านมมีการเปลี่ยนแปลง
• ผิวหนังเกิดรอยบุ๋ม ย่น หดตัว หรือหนาผิดปกติ และอาจมีสะเก็ด
• หัวนมหดตัว มีอาการคัน หรือแดงผิดปกติ
• เลือดออกจากหัวนม ซึ่งเป็นอาการที่อาจเป็นมะเร็งเต้านม
• เจ็บบริเวณเต้านม รักแร้บวม เพราะต่อมน้ำเหลืองโตขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น