สาเหตุของปัญหาผมร่วมในผู้หญิง
• 50% มีสาเหตุมาจากการที่ร่างกายมีฮอร์โมนเพศชายแอนโดรเจนสูง ซึ่งมักจะมาจากกรรมพันธุ์ โดยลักษณะคือผมจะร่วงหรือบางบริเวณกลางศีรษะและด้านข้าง
• สตรีภายหลังคลอดบุตร ผู้ที่มีอาการเครียดทางกายหรือทางอารมณ์ขั้นรุนแรง ผู้ที่ลดน้ำหนักตัวอย่างรวดเร็ว ภายหลังจากสภาวะนั้น 2-3 เดือน เส้นผมจะหลุดร่วงได้มาก
• โรคที่เกิดจากความผิดปกติทางฮอร์โมน เช่นโรคภูมิแพ้ โรคต่อมไทรอยด์
• การได้รับยาบางชนิด เช่น ยารักษาสิว ความดัน หรือโรคข้อกระดูก
• ปัจจัยอื่นๆ เช่น การสวมวิกผมและหมวกเป็นประจำจนหนังศีรษะร้อน การรวบผมตึง การดัดผม โกรกสีผม และภาวะรังแคซึ่งอาจจะเกิดจากเชื้อรา หากไม่รักษาก็อาจส่งผลให้ผมร่วง ผมบางจนกระทั้งศีรษะล้าน
การรักษาอาการผมร่วงในผู้หญิง
การรักษาผมร่วงในผู้หญิงยากและซับซ้อนกว่าผู้ชาย เนื่องจากความแตกต่างทางสรีระและฮอร์โมน โดยในปัจจุบันการรักษาอาการผมร่วมในผู้หญิงมีหลากหลายวิธีดังนี้
• การทำทรีตเมนต์เพื่อกระตุ้นให้การเกิดใหม่ของรากผมและบำรุงรักษาเส้นผมให้คงอยู่
• การรักษาด้วยการปรับฮอร์โมนเพื่อลดอาการผมร่วม
• ในกรณีผมแหว่งเป็นวงกลม อาจจะเกิดจากโรคภูมิแพ้ ซึ่งอาจจะต้องตรวจเลือดและมีการฉีดยารักษา
• การทำเลเซอร์เพื่อแก้การเสื่อมสภาพของเส้นผมหรือกระตุ้นเส้นผมให้เกิดใหม่
• การผ่าตัดปลูกผม จะทำให้กรณีที่เส้นผมในบริเวณนั้นเสียหายไปหมดแล้ว ไม่สามารถโตกลับมาได้อีก ปัจจุบันมีนวัตกรรมการแพทย์ล่าสุดสามารถปลูกผมโดยการใช้เครื่องปลูกผมที่เรียกว่า “Robot Hair Transplant” ซึ่งปลอดภัย รวดเร็วและไม่มีแผลเป็นหลังการผ่าตัด
• 50% มีสาเหตุมาจากการที่ร่างกายมีฮอร์โมนเพศชายแอนโดรเจนสูง ซึ่งมักจะมาจากกรรมพันธุ์ โดยลักษณะคือผมจะร่วงหรือบางบริเวณกลางศีรษะและด้านข้าง
• สตรีภายหลังคลอดบุตร ผู้ที่มีอาการเครียดทางกายหรือทางอารมณ์ขั้นรุนแรง ผู้ที่ลดน้ำหนักตัวอย่างรวดเร็ว ภายหลังจากสภาวะนั้น 2-3 เดือน เส้นผมจะหลุดร่วงได้มาก
• โรคที่เกิดจากความผิดปกติทางฮอร์โมน เช่นโรคภูมิแพ้ โรคต่อมไทรอยด์
• การได้รับยาบางชนิด เช่น ยารักษาสิว ความดัน หรือโรคข้อกระดูก
• ปัจจัยอื่นๆ เช่น การสวมวิกผมและหมวกเป็นประจำจนหนังศีรษะร้อน การรวบผมตึง การดัดผม โกรกสีผม และภาวะรังแคซึ่งอาจจะเกิดจากเชื้อรา หากไม่รักษาก็อาจส่งผลให้ผมร่วง ผมบางจนกระทั้งศีรษะล้าน
การรักษาอาการผมร่วงในผู้หญิง
การรักษาผมร่วงในผู้หญิงยากและซับซ้อนกว่าผู้ชาย เนื่องจากความแตกต่างทางสรีระและฮอร์โมน โดยในปัจจุบันการรักษาอาการผมร่วมในผู้หญิงมีหลากหลายวิธีดังนี้
• การทำทรีตเมนต์เพื่อกระตุ้นให้การเกิดใหม่ของรากผมและบำรุงรักษาเส้นผมให้คงอยู่
• การรักษาด้วยการปรับฮอร์โมนเพื่อลดอาการผมร่วม
• ในกรณีผมแหว่งเป็นวงกลม อาจจะเกิดจากโรคภูมิแพ้ ซึ่งอาจจะต้องตรวจเลือดและมีการฉีดยารักษา
• การทำเลเซอร์เพื่อแก้การเสื่อมสภาพของเส้นผมหรือกระตุ้นเส้นผมให้เกิดใหม่
• การผ่าตัดปลูกผม จะทำให้กรณีที่เส้นผมในบริเวณนั้นเสียหายไปหมดแล้ว ไม่สามารถโตกลับมาได้อีก ปัจจุบันมีนวัตกรรมการแพทย์ล่าสุดสามารถปลูกผมโดยการใช้เครื่องปลูกผมที่เรียกว่า “Robot Hair Transplant” ซึ่งปลอดภัย รวดเร็วและไม่มีแผลเป็นหลังการผ่าตัด
สวยครบสูตรกับ สมิติเวช สุขุมวิท
“การรักษาไม่ควรคำนึงเพียงแค่ปัญหาเส้นผมและหนังศีรษะเพียงอย่างเดียว สุขภาพร่างกายเป็นอีกปัจจัยสำคัญที่ไม่ควรมองข้าม หากมีปัญหาผมร่วม ผมบาง ไม่ควรซื้อยารักษาด้วยตัวเอง ควรพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเพื่อวินิจฉัยและรับการรักษาที่เหมาะสมในแต่ละบุคคล เพื่อให้คุณสวยครบสูตรแบบสุขภาพดี”
นายแพทย์ถนอมกิต เพราะสุนทร
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านการผ่าตัดผิวหนังและเลเซอร์
Bioscor International by Samitivej
ศูนย์รักษาฟื้นฟูปัญหาสุขภาพเส้นผมและหนังศีรษะ
โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น